หมวดหมู่ของบทความนี้จะเกี่ยวกับกระบวนการ ใน การ หายใจ หากคุณกำลังมองหาเกี่ยวกับกระบวนการ ใน การ หายใจมาถอดรหัสหัวข้อกระบวนการ ใน การ หายใจในโพสต์การหายใจระดับเซลล์ cellular respirationนี้.

ภาพรวมของเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกระบวนการ ใน การ หายใจที่สมบูรณ์ที่สุดในการหายใจระดับเซลล์ cellular respiration

ดูตอนนี้วิดีโอด้านล่าง

READ MORE  ภาษาอังกฤษ ป 5 by ครูหนึ่ง | ข้อสอบ las ม 5 อังกฤษ พร้อม เฉลยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องล่าสุด

ที่เว็บไซต์eoifigueres.netคุณสามารถเพิ่มความรู้อื่น ๆ นอกเหนือจากกระบวนการ ใน การ หายใจเพื่อรับความรู้เพิ่มคุณค่าให้กับคุณ ในหน้าEOIFigueres เราอัปเดตข้อมูลใหม่และถูกต้องให้คุณทุกวัน, ด้วยความปรารถนาที่จะให้บริการข่าวที่ดีที่สุดสำหรับคุณ ช่วยให้คุณเก็บข้อมูลที่มีรายละเอียดมากที่สุดบนอินเทอร์เน็ต.

การแบ่งปันที่เกี่ยวข้องกับหมวดหมู่กระบวนการ ใน การ หายใจ

การหายใจระดับเซลล์แบบแอโรบิกมี 4 ขั้นตอน 1.glycolysis 2. Acetyl CoA generation 3.Kreb cycle 4.electron transport chain จากการวิจัยสมัยใหม่พบว่าการสลายของโมเลกุลกลูโคส 1 โมเลกุลสามารถสร้างได้ 30-32 ATP เพราะ NADH สามารถสร้างได้ 2.5 ATP FADH2 สามารถสร้างได้ 1.5 ATP สลายน้ำตาลได้ 4 ATP 10 NADH = 10×2.5 = 25 ATP 2 FADH2 = 2×1.5 = 3 ATP รวม 32 ATP ข้อมูลอ้างอิงจากหนังสือ Biology :A global แนวทาง (2018) ผู้แต่ง Campbell et al. * อย่างไรก็ตาม ข้อมูลเดิม การสลายโมเลกุลกลูโคส 1 โมเลกุล จะได้รับพลังงาน 36-38 ATP เพราะ NADH ทำได้ 3 ATP FADH2 ทำได้ 2 ATP ติดตาม Dr. Paintbrushes ได้ทุกช่องทางที่ facebook : instagram : line : @ easy_biology .

READ MORE  การลำเลียงน้ำ (ชีววิทยา ม.5 เล่ม 3 บทที่ 10) | การลําเลียงน้ําของพืชเนื้อหาที่เกี่ยวข้องที่สมบูรณ์ที่สุด

ภาพบางส่วนที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อของกระบวนการ ใน การ หายใจ

การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration
การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration

นอกจากการดูข้อมูลเกี่ยวกับบทความนี้แล้ว การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration ติดตามบทความเพิ่มเติมได้ที่ด้านล่าง

คลิกที่นี่เพื่อดูข้อมูลใหม่เพิ่มเติม

แท็กที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการ ใน การ หายใจ

#การหายใจระดบเซลล #cellular #respiration.

READ MORE  EP Easy Classroom : Parts of flower ส่วนประกอบของดอกไม้ ดอกชบา สมบูรณ์เพศ Science Year 5. | สรุปเนื้อหาเกสร ดอก ชบาล่าสุด

cellular repiration,aerobic respiration,anaerobic respiration,glycolysis,ATP,electron transport chain,kreb cycle,การย่อยสลายอาหารระดับเซลล์,์NADH,วัฏจักรเครปส์,ไกลโคไลซิส,การหายใจระดับเซลล์,หายใจระดับเซลล์,ชีววิทยา,ใช้ออกซิเจน,สรุป,การสลายอาหารระดับเซลล์,การถ่ายทอดอิเล็กตรอน.

การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration.

กระบวนการ ใน การ หายใจ.

เราหวังว่าเนื้อหาบางส่วนที่เราให้ไว้จะเป็นประโยชน์กับคุณ ขอบคุณมากสำหรับการติดตามข้อมูลกระบวนการ ใน การ หายใจของเรา

47 thoughts on “การหายใจระดับเซลล์ cellular respiration | เนื้อหากระบวนการ ใน การ หายใจที่แม่นยำที่สุด

  1. Easy biology by DrPukan says:

    หากคลิปนี้มีเสียงเอฟเฟคที่ดังเกิน หรือ ดร.พู่กัน พูดเร็วไป ต้องกราบขออภัยอย่างสุดซึ้ง เนื่องจากคลิปนี้เป็นคลิปแรกๆ ที่ ดร.พู่กันทำ ซึ่งตอนนั้นยังไม่มีประสบการณ์ในการตัดต่อ และทำคลิปให้ความรู้

    โดยคลิปที่โพสต์ในปี 2020 เป็นต้นไป ดร.พู่กันได้ปรับปรุง ด้วยการลดเสียงเอฟเฟค และพูดให้ช้าลงแล้วค่ะ

    อย่างไรก็ตาม สิ่งที่ทุกคลิปมีเหมือนกันคือ ความทุ่มเท ความตั้งใจในการส่งมอบความรู้ทางชีววิทยาที่เข้าใจง่าย และเห็นภาพชัดเจน และหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผู้ชมคลิปทุกคนจะได้รับความรู้ทางชีวิวทยาที่มากขึ้น สามารถนำไปใช้ได้ในการเรียนนะคะ 🙂

  2. hathairat sorapinya says:

    อธิบายดีค่ะ เห็นภาพชัดเจน แต่ ถ้าลด effect ที่ไม่จำเป็นลงได้จะดีมาก จะ ได้ไม่รบกวนสมาธิมากไปนะคะ ขอบคุณมากค่ะ

  3. Tera : tt.tera_aa says:

    0:21 ความหมาย
    0:53 หายใจระดับเซลล์2แบบ
    1:12 มี4ขั้นตอน – Glycolysis > สร้าง Acetyl CoA > Kreb cycle > ถ่ายทอดอิเล็กตรอน
    1:23 Glycolysis เกิดที่ cytoplasm ลงทุนใช้ 2ATP ในช่วงเริ่ม (สไลด์25)
    2:49 สร้าง Acetyl CoA
    3:42 Kreb cycle เกิดที่ Matrix
    5:01 ถ่ายทอดอิเล็กตรอน เกิดที่ เยื่อหุ้มชั้นในMitrochondria
    7:30 สาเหตุที่ NADH และ FADH2 ให้พลังงานต่างกัน
    8:05 สรุปพลังงานที่ได้
    8:34 การสลายที่ที่ต่างกัน ได้ATPต่างกัน
    9:46 สรุปกระบวนการ

  4. Quake says:

    โหฟังแล้วเหมือนบรรลุเลยค่ะTTTT ขอบคุณจริงๆนะคะ อยากถือพานไปกราบไหว้มากค่ะ แงงงง ทำดีม้ากๆๆๆเลยค่า อธิบายชัดเจนมาก ขอบคุณอีกครั้งนะคะTT💝💝

  5. Suriya Virjo says:

    ถามดร.ปูการจะสกัดโปรตีนหนามของโควิด19ทำอย่างไร อธิบายเป็นความรู้ของคนอยากรู้

  6. Thnita Phrhmphakdi says:

    น้ำตาลกลูโคสเป็นน้ำตาลโมเลกุลเดี่ยวที่มีขนาด (ไมครอน) หรือมีขนาดใหญ่จึงไม่สามารถผ่านเยื่อหุ้มเซลล์ชั้นในเข้าไปได้

  7. Thnita Phrhmphakdi says:

    Prokaryotic cell การหายใจระดับเซลล์ในเซลล์พืช อาจไม่มีความซับซ้อน end product ที่ได้คือ น้ำตาล ส่วนการเรียนรู้ที่ได้ประสิทธิภาพมากขึ้นจะเป็นการเรียนรู้การหายใจระดับเซลล์ใน eukaryotic cell ซึ่งได้พลังงานเกิดขึ้นในขบวนการ burning ของร่างกาย

  8. Thnita Phrhmphakdi says:

    Plant respiration หรือใน prokaryotic cell อาจจะไม่สมบูรณ์เท่าใน eukaryote เพราะมีเพียงคาร์โบไฮเครตและน้ำตาล ซึ่งปฏิกิริยาเคมีอาจไม่เสถียรเท่าใน eukaryotic cell ที่มี protein และ Lipid (fat acid) ทำให้ปฏิกิริยาเคมีในกระบวนการหายใจเกิดเป็นพลังงานได้มากขึ้น

  9. Thnita Phrhmphakdi says:

    ภาวะตับอาจทำงานผิดปกติ การทำงานที่เกิดขึ้นดังอธิบายจะเกิดขึ้นที่อวัยวะ ตับ หัวใจ และไต ดังนั้นพลังงานที่ลดลงเหลือเพียง 2.5 และ 1.5 นั้นอาจมาจากตับทำงานในกระบวนการเผาผลาญโดยใช้ออกซิเจนได้พลังงานที่ลดลง หรือมีประสิทธิภาพลดลง เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าตับเป็นอวัยวะที่มีหน้าที่สร้างเม็ดเลือดแดงควบคู่กันไปกับไขกระดูกและม้าม เม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ลำเลียงออกซิเจนซึ่งเป็น end product ของ process ใน cycle การหายใจโดยใช้ออกซิเจน ไขกระดูกและตับพร่องการสร้างเม็ดเลือดแดงก็ไม่มีตัวช่วยในการลำเลียงออกซิเจนที่ได้จากกระบวนการหายใจไปยังอวัยวะที่สำคัญอย่างปอดที่ฟอกเลือดดีที่มีออกซิเจนกลับเข้าสู่หัวใจเพื่อสูบ-ฉีด ออกไปสู่ร่างกายต่อไป

  10. Thnita Phrhmphakdi says:

    พลังงานอะดีโนซีนไตรฟอสเฟตที่ลดลง เหลือเพียง 2.5 และ 1.5 นั้นสาเหตุเพราะตับทำงานได้ลดลงเพราะ Alcohol แทนที่ และลดการทำงานของสาร อาหาร หรือเกิดจากภาวะตับพร่อง

  11. อภิชาติ says:

    อ. ครับ สอบถามครับ เมื่อเราตัดต้นไม้อย่างเช่นพืชตระกูลหญ้า หรือพวกกลุ่มไม้น้ำ สารที่ละลายในน้ำสามารถไหลเข้าไปในท่อไซเลม จนไปถึงยอดได้ง่ายๆเลยไหมครับ

  12. C says:

    คลิปครูคุณภาพดีมากเลยครับ
    ผมอ่านเองเเล้ว งงๆ พอดูคลิปครูเเล้วรู้เรื่องเลยครับ555
    ขอบคุณครูมากๆครับ

  13. Simple time says:

    ขอบคุณนะคะ แต่เอฟเฟคเยอะไปและก็ดังกว่าเสียงพูดด้วยค่ะ ถ้าปรับตรงนี้สำหรับเราแล้วคลิปจะดูสมูทมากขึ้นเลยค่ะ

  14. Jiro Kaeru says:

    ขออนุญาตถามครับ ไมโตคอนเดรีย นอกจากจะดึงกลูโคส (คาร์โบรไฮเดรต) แล้ว มันดึงไขมันมาสร้างพลังงานด้วยหรือไม่ ครับ

  15. Converse Converse says:

    ในขั้นตอนของ ETC ช่วงที่ H+ไม่เท่ากัน มีผลต่อความเป็นกรดเบสด้วยรึป่าวครับ อีกคำถามทำไมatpที่ได้ในขั้นetcถึงไม่นำมารวมด้วยเหรอครับ

  16. muii - says:

    ทำไมบางตำแหน่งใช้NADบางตำแหน่งใช้FADคะ ถ้าNADHให้พลังงานมากกว่าทำไมถึงไม่ใช้NADรับeทั้งหมดคะ

  17. N D says:

    โหหหห สุดยอดด ถ้ามีคลิปแบบนี้สมัยเรียน ม,ปลายนี้ แทบจะเข้าใจกระบวนการหมดโดยไม่ต้องอ่านเลยด้วยซ้ำ สุดยอดจริงๆ ตอนนี้ทำงานเป็นเภสัชกรเป็น 10 ปีแล้ว กลับมาดูความรู้แบบนี้ถ้าสมัยนั้นจะรีวิวได้ไวมาก ไม่ปวดหัว ไว้จะดูคลิปอื่นๆต่อไปครับ ขอบคุณมากๆ

  18. น้องเดียว ชาอึนอู says:

    จะสอบพรุ่งนี้แล้วค่ะ ไล่ดูคลิปในยูทูปบทนี้มาเป็นชั่วโมงสองชั่วโมง ไม่เข้าใจเลย เจอคลิปนี้สิบนาทีเอง รู้เรื่องประหยัดเวลามากเลยค่ะ แถมเข้าใจง่ายอีกด้วย ครั้งที่แล้วหนูดูคลิปของช่องนี้ไปได้รองท้อปห้อง ดีใจมากๆเลยค่ะ ครั้งนี้ต้องทำให้ได้ ฮึบบบบบๆๆ บทนี้ค่องข้างยากสำหรับหนู แต่พอดูคลิปนี้แล้วรู้สึกง่ายมากเลยค่ะ เป็นกำลังใจให้ช่องนี้นะคะ

  19. Lirong Gao says:

    ขอบคุณครูพู่กันมากนะครับที่สอนผมผ่านคลิป เชื่อมั้ยครับ ผมจบสายอาชีพมา ไม่ได้เข้ากวดวิชาที่ไหนเลย อ่านเอง บวกกับดูคลิปในยูทุป หนึ่งในคลิปเหล่านั้นคือคลิปของคุณครูพู่กัน จน ผมสามารถสอบติดหมอ ม.เอกชนรอบรับตรงได้ ขอบพระคุณครูพู่กันจริงๆ นะครับ จากใจเลยครับ

  20. ERRXRPOND says:

    สมการตอนสรุปเขียนผิดนิดหน่อยนะคะ ถ้าฟังก็เข้าใจอยู่ว่าเป็นคาร์บอน แต่สมการเขียนเป็นCO6ค่ะ

  21. เอกลักษณ์ ราชไรกิจ says:

    หาก glycolysis ต้องมีการลงทุน 2 ATP อยากทราบว่า ในยุคแรกเริ่มที่สิ่งมีชีวิตที่ทานแป้งเข้าไปในร่างกายครั้งแรก ทั้ง ๆ ที่ไม่เคย ผ่านglycolysis เลย อธิบายยังไงดีล่ะครับ คือผมอยากรู้ว่า ถ้าเรามี 0 ATP ใน glycolysis แล้วเราจะไปยืม ATP มาจากไหนอะครับ ที่จะลงทุนในขั้นตอนแรก ยิ่งถามยิ่งงง5555

  22. Ghh Szz says:

    ถ้านำไปใช้สอบpat2,9สามัญ dek63ต้องอ้างอิงจากเล่มไหนคะ หรือดูช้อยว่าเป้นแบบ38,36หรือ32,30

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *